บทที่3 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัถตุ
รู้จักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ใช้แนวคิดของออบเจ็ค ซึ่งในออบเจ็คนั้นจะประกอบไปด้วยสมาชิก 2 แบบ คือ ตัวแปรซึ่งเป็นข้อมูลหรือกำหนดคุณลักษณะของออบเจ็ค และเมธอด เป็นฟังก์ชันการทำงานที่อ็อบเจ็คสามารถทำได้ ในการสร้างออบเจ็คนั้นจะอยู่ภายใต้การกำหนดของคลาส โดยคลาสคือการกำหนดว่าออบเจ็คจะมีสมาชิกอะไรบ้าง และกำหนดการทำงานของเมธอด ดังนั้นออบเจ็คจะสร้างจากคลาส เราเรียกออบเจ็คว่า instances ของคลาส
คลาสและออบเจ็กต์
คลาส ก็คือ สิ่งที่ใช้อธิบายลักษณะและความสามารถของออบเจ็กต์ เปรียบได้กับแม่แบบของออบเจ็กต์ โดยสามารถสร้างออบเจ็กต์ให้มีคุณลักษณะที่เมหทือนกับแม่แบบกี่ครั้งก็ได้
ออบเจ็กต์ ก็คือ สิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่รอบตัว ซึ่งมีคุณลักษณะและความสามารถในการทำงาน เช่น คน,รถยนต์,เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
แอตทริบิวต์ และสิ่งที่ใช้อธิบายการทำงานของออบเจ็กต์ในออบเจ็กต์จะถูกเรียกว่า เมธอด
โค้ดของคลาส ภาษา java
class Tax {
public float TaxRate;
public float TotalTax;
public float calTotalTax () {
float test =0;
return test ;
}
}
การสร้างคลาส
Class ก็เหมือนกับ พิมพ์เขียวสร้างบ้าน ก็คือคลาสเป็นเพียงแปลบ้านที่ออกแบบไว้ จะมีประโยชน์ เมื่อมีการนำเอาคลาสนั้นไปสร้างออบเจ็กต์ ขั้นตอนการสร้างคลาสมี 3ขั้นตอน
1.การประกาศคลาส
2.การประกาศแอตทริบิวต์
3.การประกาศเมธอด
[modifier class ClassName {
[Attribute Name]
[Method Name]
modifier คือ คุณสมบัติการเข้าถึงคลาส
ClassName คือ ชื่อคลาส
Attribute Name คือ การประกาศแอตทริบิวต์
MethodName คือ การประการศเมธอด
การประกาศแอตทริบิวต์
เมื่อประกาศคลาสเรียบร้อยแล้ว ต่อไปเป็นการประกาศแอตทริบิวต์ ซึ่งเป็นตัวแปรหรือค่าคงที่ที่ประกาศไว้ภายในคลาส รูปแบบการประกาศ
[modifier] dataTyp AppributeName;
การประกาศเมธอด
เป็นการทำงานต่างๆของคลาสที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งภายในคลาส
[modifier] return_type MethodName([parameter]) {
[method_body]
return varValue;
}
อ้างอิง พิมพ์ครั้งที่1 ธันวาคม 2556
ผู้แต่งคือ ผศ.สุดา เธียรมนตรี หนังสือ คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา java
https://www.google.com/search?q=หนังสือ+java&client=ms-android-samsung&prmd=imvn&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=2ahUKEwjDy46F8qPgAhXFMo8KHas2BzIQ_AUoAXoECA0QAQ#imgrc=hKBob1sEPoyIRM
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ใช้แนวคิดของออบเจ็ค ซึ่งในออบเจ็คนั้นจะประกอบไปด้วยสมาชิก 2 แบบ คือ ตัวแปรซึ่งเป็นข้อมูลหรือกำหนดคุณลักษณะของออบเจ็ค และเมธอด เป็นฟังก์ชันการทำงานที่อ็อบเจ็คสามารถทำได้ ในการสร้างออบเจ็คนั้นจะอยู่ภายใต้การกำหนดของคลาส โดยคลาสคือการกำหนดว่าออบเจ็คจะมีสมาชิกอะไรบ้าง และกำหนดการทำงานของเมธอด ดังนั้นออบเจ็คจะสร้างจากคลาส เราเรียกออบเจ็คว่า instances ของคลาส
คลาสและออบเจ็กต์
คลาส ก็คือ สิ่งที่ใช้อธิบายลักษณะและความสามารถของออบเจ็กต์ เปรียบได้กับแม่แบบของออบเจ็กต์ โดยสามารถสร้างออบเจ็กต์ให้มีคุณลักษณะที่เมหทือนกับแม่แบบกี่ครั้งก็ได้
ออบเจ็กต์ ก็คือ สิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่รอบตัว ซึ่งมีคุณลักษณะและความสามารถในการทำงาน เช่น คน,รถยนต์,เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
แอตทริบิวต์ และสิ่งที่ใช้อธิบายการทำงานของออบเจ็กต์ในออบเจ็กต์จะถูกเรียกว่า เมธอด
โค้ดของคลาส ภาษา java
class Tax {
public float TaxRate;
public float TotalTax;
public float calTotalTax () {
float test =0;
return test ;
}
}
Class ก็เหมือนกับ พิมพ์เขียวสร้างบ้าน ก็คือคลาสเป็นเพียงแปลบ้านที่ออกแบบไว้ จะมีประโยชน์ เมื่อมีการนำเอาคลาสนั้นไปสร้างออบเจ็กต์ ขั้นตอนการสร้างคลาสมี 3ขั้นตอน
1.การประกาศคลาส
2.การประกาศแอตทริบิวต์
3.การประกาศเมธอด
[modifier class ClassName {
[Attribute Name]
[Method Name]
modifier คือ คุณสมบัติการเข้าถึงคลาส
ClassName คือ ชื่อคลาส
Attribute Name คือ การประกาศแอตทริบิวต์
MethodName คือ การประการศเมธอด
การประกาศแอตทริบิวต์
เมื่อประกาศคลาสเรียบร้อยแล้ว ต่อไปเป็นการประกาศแอตทริบิวต์ ซึ่งเป็นตัวแปรหรือค่าคงที่ที่ประกาศไว้ภายในคลาส รูปแบบการประกาศ
[modifier] dataTyp AppributeName;
การประกาศเมธอด
เป็นการทำงานต่างๆของคลาสที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งภายในคลาส
[modifier] return_type MethodName([parameter]) {
[method_body]
return varValue;
}
อ้างอิง พิมพ์ครั้งที่1 ธันวาคม 2556
ผู้แต่งคือ ผศ.สุดา เธียรมนตรี หนังสือ คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา java
https://www.google.com/search?q=หนังสือ+java&client=ms-android-samsung&prmd=imvn&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=2ahUKEwjDy46F8qPgAhXFMo8KHas2BzIQ_AUoAXoECA0QAQ#imgrc=hKBob1sEPoyIRM
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น