บทที่5 การแสดงผลและการรับข้อมูล

      พื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งในการเขียนโปรแกรม Java คือการรับและแสดงผลข้อมูลเนื่องจากเป็นส่วนสำคัญในการใช้งาน ถึงแม้ว่าเราจะทำการออกแบบและเขียนโปรแกรมได้ดีเพียงใด แต่หากไม่สมารถรับข้อมูลและแสดงผลข้อมูลได้โปรแกรมนั้นก็ไม่สามารถนำไปใช้งานได้

การแสดงผลข้อมูลด้วยเมธอด printIn() หรือ print() 
เมธอด printIn() หรือ print() เป็นเทธอดืี่ใช้สำหรับแสดงผลข้อมูลทางจอภาพ ซึ่งอยู่ใน ออบเจ็กต์ out ของคลาส System โดยมีรูปแบบดังนี้
System.out printIn(argument_1 + argument_2 + ... + argument_n)
เขียนได้อีกแบบ
System.out print(argument_1 + argument_2 + ... + argument_n)
เป็นข้อมูลที่ต้องการแสดงผลอาจจะเป็นข้อความตัวแปร หรือนิพจน์ ซึ่งสามารถเขียนต่อกันได้โดยใช้เครื่องหมาย "+"
รหัสควบคุมการแสดงผลร่วมกับ argument 
คำสั่งควบคุม
ความหมาย
\b
เลื่อนเคอร์เซอร์ถอยหลังไป 1 ตัวอักษร
\f
ขึ้นหน้าใหม่
\n
ขึ้นบรรทัดใหม่
\r
เลื่อนเคอร์เซอร์ไปทางซ้ายสุด
\t
แสดงแท็บตามแนวนอน
\’
แสดงเครื่องหมาย
\”
แสดงเครื่องหมาย
\\
แสดงเครื่องหมาย\
\xxx
แสดงตัวอักษรรหัส ASCII
\uxxx
แสดงตัวอักษรรหัส Unicode

ข้อแตกต่างระหว่าง println() และ print() คือ เมื่อทำการแสดงผลข้อมูลโดยใช้ println() ตัวชี้ตำแหน่งจะขึ้นบรรทัดใหม่ ในขณะที่การแสดงข้อมูลโดยใช้ println() นั้นตัวชี้ตำแหน่งจะอยู่ที่ตำแหน่งสุดท้ายของข้อมูลที่แสดงผล


คำอธิบาย
บรรทัดที่ 3 เมธอด print โปรแกรมแสดงผลแล้วตัวชี้ตำแหน่งจะอยู่ตำแหน่งสุดท้ายของข้อมูล
บรรทัดที่ 4 เมธอด print ร่วมกับรหัสควบคุมการแสดงผล "\n" โปรแกรมแสดงผลข้อมูลแล้วตัวชี้ตำแหน่งจะไปอยู่ที่ต้นบรรทัดใหม่
บรรทัดที่ 5 เมธอด printIn โปรแกรมแสเงผลข้อมูลจะไปอยู่ที่ต้นบรรทัดใหม่
บรรทัดที่ 6 เมธอด prinrIn โปรแกรมแสเงผลข้อมูลตัวชี้ตำปหน่งจะไปอยู่ที่ต้นบรรทัดใหม่
การแสดงผลข้อมูบด้วยเมธอด printf()
เมธอด printf() เป็นเมธอดที่ใช้สำรหับแสดงผลข้อมูลทางจอภาพ ซึ่งอยู่ในออบเจ็กต์ out ของ คลาส System มีรูปแบบดังนี้
System.out.printf(Control_String, argument_1, argument_2, +...+ argument_n)
โดยที่  Control_String ประกอบด้วยรหัสควบคุมการแสดงผล,รหัสการแสดงผลและส่วนขยายรหัสการแสดงผล
การแสดงผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane
การแสดงผลข้อมูลโดยใช้คลาส JOptionPane เป็นการแสดงข้อความหรือข้อมูลต่างๆ ในรูปแบบของ 
Graphic Mode ซึ่งแสดงออกมาในลักษณะของ Popup Window ที่เรียกว่า Dialog Box ประเภท MessageDialog โดยเรียกใช้งานจากเมธอด showMessageDialog() ที่ไม่มีการคืนค่า
การใช้งานคลาส JOptionPane จะต้องสร้างออบเจ็บจากคลาส JOptionPane ก่อนเสมอ ซึ่งต้อง import คลาสนี้จากแพ็คเกจ Javax.swing เข้ามาในโปรเจ็กต์และประกาศออบเจ็กต์ตามรูปแบบดังนี้
JOptionPane.showMessageDialog(Parent_Window, Message, Title, Type);
Parent_Window แสดงผลในกรณีที่กำหนดค่าเป็น null จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์กลางหน้าจอ
Message เป็นข้อความที่ต้องการแสดงในไดอะล็อกบ็อกซ์
Title เป็นข้อความที่ปรากฏในส่วนของ Titlebar ของไดอะล็อกบ็อกซ์
Type เป็นการแสดงสัญลักษณ์ ต่างๆ


อ้างอิง พิมพ์ครั้งที่ 1 ธันวาคม 2556

 ผู้แต่งคือ ผศ.สุดา เธียรมนตรี หนังสือ คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา java















ความคิดเห็น